ตึกในกรุงเทพฯ รองรับแรงแผ่นดินไหวได้แค่ไหน
How earthquake-resistant are buildings in Bangkok ?
คำตอบ : แต่ละอาคารจะมีค่าการรับแรงสั่นสะเทือนเท่าไร ไม่สามารถตอบระบุเป็นตัวเลขได้ แต่การขออนุญาตก่อสร้างจะต้องมีรายการคำนวนที่กฎหมายกำหนดไว้ ซึ่งประเทศไทยเคยเกิดแผ่นดินไหวสูงสุด 6.5 ริกเตอร์ที่จังหวัดน่านเมื่อปี 2478 แต่ปัจจัย ขึ้นอยู่กับ ศูนย์กลางเกิดเหตุ ระยะทาง หรือ พื้นที่ที่เกิดเหตุ เป็นตัวแปรผัน ด้วยเช่นกัน
Answer: It is not possible to specify an exact resistance level for each building. However, all constructions must comply with legal structural calculations before obtaining a construction permit. The highest recorded earthquake in Thailand was 6.5 on the Richter scale in Nan Province in 1935. The impact of an earthquake depends on various factors such as the epicenter, distance, and location of the incident.
อาคารมีความปลอดภัยหรือไม่ ?
Are the buildings safe?
คำตอบ : จากการตรวจสอบโดยทีมช่า่ง ในเบื้องต้นไม่พบความเสียหายที่อาจกระทบต่อ โครงสร้าง และจะให้ส่วนงานวิศวกรรม หรือ บริษัทวิศวกรรมเข้าตรวจสอบโดยด่วน ให้ครบทุกๆ อาคาร และคณะกรรมการสามารถใช้ผู้ตรวจสอบอาคารภายนอกเข้าตรวจสอบได้เช่นกัน ทั้งนี้เพื่อความรวดเร็ว
Answer: According to an initial inspection by our technical team, no damage was found that could affect the structural integrity of the buildings. Further inspections by the engineering department or an independent engineering firm will be conducted promptly to ensure safety. The management committee may also engage external building inspectors for additional verification.
ประกันภัยอาคาร คลอบคุมอะไรบ้าง
What does the building insurance cover?
คำตอบ
- ประกันภัยอาคาร คุ้มครองอุบัติภัย (แผ่นดินไหว) ของทรัพย์ส่วนกลาง และระบบ 100% อาจมีค่าความรับผิดชอบแล้วแต่ระบุในกรมธรรม์ (ไม่ครอบคลุมความเสียหายต่อเนื่อง เช่น การสูญเสียโอกาสการพักอาศัย )
- ประกันภัยคุ้มครองทรัพย์บุคคลที่สามที่อยู่ในพื้นที่ส่วนกลาง แต่มีวงเงินความคุ้มครอง แล้วแต่เงื่อนไขกรมธรรม์ / หรือมีค่าความรับผิดชอบส่วนแรก
- ประกันภัยคุ้มครอง ความเสียหาย/ต่อร่างกาย (เช่น บาดเจ็บ) ในค่ารักษาพยาบาล (ขึ้นอยู่กับบางกรมธรรม์ ผู้จัดการอาคารต้องหาข้อมูล) – ทรัพย์สินในห้องคุ้มครองตามวงเงินตามกรมธรรณ์ ทรัพย์สินส่วนบุคคลอะไรทีมากับโครงการผนัง พื้น สุขภัณฑ์ ระบบไฟฟ้าเว้นแต่ ทรัพย์สินส่วนตัว เฟอร์นิเจอร์ หรือ บิ้วอิน เป็นต้น หรือ โคมไฟต่างๆ ที่ติดตั้งใหม่ ไม่อยู่ในความคุ้มครองส่วนพื้น ผนัง ฝ้าเพดาน ที่มาจากโครงการ จะอยู่ในความคุ้มครอง
Answer:
- Building insurance covers damage from natural disasters, including earthquakes, for common areas and systems, with coverage terms specified in the policy. However, consequential damages, such as loss of residence use, are not covered.
- Third-party liability insurance covers personal belongings in common areas, with coverage limits as specified in the policy and may include deductibles.
- Personal injury coverage includes medical expenses for injuries sustained (subject to policy terms).
- Unit insurance coverage applies to built-in fixtures such as walls, floors, sanitary systems, and electrical systems but does not cover personal belongings, furniture, or custom installations like additional lighting fixtures.
แจ้งเคลมผ่านทางไหน ?
How can I submit an insurance claim?
คำตอบ ผ่านทางช่องทาง QR CODE ที่นิติบุคคลประกาศแจ้ง / หรือ ช่องทางอื่นๆ ที่คณะกรรมการ และนิติฯ ได้กำหนดขึ้นเพิ่มเติม หรือ คลิก https://survey.primo.co.th/survey
Answer: Claims can be submitted via the QR code provided by the juristic office or through additional channels designated by the management committee. Alternatively, you can submit a claim via this link: https://survey.primo.co.th/survey.
อาคารรองรับแรงสั่นสะเทือนได้กี่ริกเตอร์
To what Richter scale are buildings designed to withstand?
คำตอบ อาคารในประเทศ ผ่านการรับรองตอนขออนุญาตก่อนสร้างที่จะต้องมีรายการคำนวนรองรับแผ่นดินไหว (ตามกฎหมายกำหนด) ซึ่งมีหลายค่า หลาย factor ตาม link ข้อมูลของกฎหมาย (การระบุตัวเลขว่ากี่ริกเตอร์ จึงเป็นการยาก เนื่องจากศูนย์การการเกิด ระยะทาง มีผลที่จะบอกเป็นตัวเลข)
Answer: Buildings in Thailand are designed according to legally mandated seismic calculations. However, determining an exact Richter scale resistance is complex, as factors such as epicenter distance and local geological conditions play a significant role. Compliance with structural calculations required by law ensures earthquake resilience.
มีตึกไหน ตัดน้ำ ตัดไฟ ไหม ?
Have any buildings experienced water or power cuts?
คำตอบ ไม่มี ไม่มีการงดการจ่ายน้ำจ่ายไฟ
Answer: No, there have been no disruptions to water or electricity supply.
สามารถเข้าตึกได้หรือยัง ?
Are residents allowed to re-enter their buildings?
คำตอบ กลุ่มอาคารที่บริษัท PMM และ CROWN บริหาร สถานะพร้อมเข้าพักอาศัยทุกโครงการ
Answer: Yes, all properties managed by PMM and CROWN are safe and ready for occupancy.
สอบถามการก่อสร้าง เป็นไปตามกฎหมายก่อสร้างปี 2550 หรือไม่
Was the construction carried out in compliance with the 2007 Building Control Act?
คำตอบ เป็นไปตามมาตรฐานการก่อสร้างที่กฎหมายกำหนด
Answer: Yes, all buildings have been constructed in accordance with the legal standards set by the 2007 Building Control Act.
อาคารรองรับแรงสั่นสะเทือนได้กี่ริกเตอร์
How many Richter can a building withstand?
คำตอบ การคำนวนรับแรงสั่นสะเทือนไม่สามารถกำหนดเป็นค่าริกเตอร์ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เช่นระยะทาง หรือศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว แต่ทั้งนี้ การออกแบบจะเป็นไปตามการคำนวนที่กฎหมายกำหนดทุกประการ
Answer: The calculation of seismic resistance cannot be determined in terms of the Richter scale. It depends on various factors, such as the distance from the epicenter and the location of the earthquake. However, the design is strictly based on calculations in accordance with legal requirements.
วิศวกรเข้าตรวจสอบเมื่อไหร่ ?
When will engineers conduct further inspections?
คำตอบ เบื้องต้นตรวจสอบความแข็งแรงโครงสร้างแล้วทุกโครงการ พบว่าโครงสร้างปลอดภัยไม่มีปัญหา หลังจากนี้จะประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าตรวจสอบโดยละเอียด อีกครั้ง
Answer: Initial assessments of structural integrity have been completed for all buildings, confirming that they are safe. Further detailed inspections will be coordinated with relevant authorities as soon as possible.
ใครจัดหาผู้รับเหมาให้
Who is responsible for hiring a contractor?
คำตอบ
1.เจ้าของห้องถ้าต้องการเร่งด่วนสามารถจัดหาผู้รับเหมาเสนอราคา ผ่านทางนิติบุคคลได้เลย โดยเฉพาะการซ่อมในส่วนที่เป็นการตกแต่ง โดยใบเสนอราคาให้แยกรายละเอียดของงานต่างๆ ให้ชัดเจน เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการพิจารณาของประกันภัย
2.ผู้รับเหมาที่นิติฯ หรือส่วนกลาง จัดหา และจัดทำราคากลาง ใช้สำหรับการเสนอราคาเรียกร้องค่าสินไหม
Answer:
- If urgent repairs are needed, unit owners may hire a contractor directly and submit a quotation to the juristic office. The quotation should detail the scope of work for insurance assessment.
- Alternatively, the management may source contractors and provide standard pricing, which will be used for insurance claims.
กรณีเร่งด่วน สามารถซ่อมเองได้หรือไม่
Can I carry out emergency repairs on my own?
คำตอบ กรณีเร่งด่วนสามารถซ่อมเองได้ โดยมีเงื่อนไข
- ก่อนการซ่อม ระหว่างซ่อม ให้มีการเก็บรายละเอียดความเสียหาย การทำงานไว้ประกอบการยืนยันกับประกันภัย และจัดเก็บซากวัสดุไว้ด้วยเช่นกัน (กรณีไม่มีซากวัสดุที่เสียหาย ประกันภัยอาจไม่พิจารณาการชดเชยค่าสินไหมได้
- ต้องมีใบเสนอราคาจากผู้รับเหมา ส่งผ่านมายังนิติบุคคลฯ ให้ประกันภัย
- เจ้าของห้องต้องสำรองเงินการซ่อมแซม
- การชดเชยค่าสินใหม อาจไม่ได้ตามวงเงินที่ผู้รับเหมาเสนอ (ส่วนต่างเป็นภาระของเจ้าของห้อง)
Answer: Yes, emergency repairs are allowed under the following conditions:
- Damage must be documented before, during, and after the repair (photos and videos).
- Debris and damaged materials should be kept as evidence for insurance verification.
- A contractor’s quotation must be submitted to the juristic office for insurance approval.
- The unit owner must initially cover the repair costs.
- Insurance reimbursement may not cover the full repair cost, and any cost difference will be the owner’s responsibility.
ระหว่างการซ่อมห้องต้องย้ายไปอยู่ที่อื่นๆ ใครรับผิดชอบค่าใช้จ่าย
Who will cover relocation costs if I need to vacate my unit during repairs?
คำตอบ เจ้าของห้องต้องรับภาระค่าใช้จ่าย การชดเชยค่าสินไหมที่ต่อเนื่องจากอุบัติภัยไม่อยู่ในเงื่อนไขความคุ้มครอง
Answer: The unit owner will be responsible for all relocation expenses. Loss of use compensation is not covered under the insurance policy.
ทำไม ไม่ซื้อประกันภัยให้คลอบคลุมความเสียหายทั้งหมด
Why doesn’t the insurance cover all damages?
คำตอบ ขึ้นอยู่กับปัจจัย และเงื่อนไข ที่ได้รับการเสนอจากประกันภัย และการพิจารณาต่อรองเพิ่มเงิือนไขของนิติบุคคลฯ ซึ่งหากให้มีความคุ้มครองที่สูงขึ้น อัตราค่าเบี้ยประกันภัยที่เรียกเก็บจากเจ้าของร่วมเป็นรายปีจะสูงตามเช่นกัน ทั้งนี้อาจมีการพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ ในรอบการทำประกันภัยปีถัดๆ ไป
Answer: Insurance coverage is based on policy terms negotiated between the management and the insurance provider. Expanding coverage would result in higher annual premiums for all unit owners. The management may review coverage conditions in future policy renewals.
ต้องแจ้งเคลมภายในกี่วัน
How long do I have to file an insurance claim?
คำตอบ มาตรฐานการแจ้งเคลมประกันภัย ต้องภายใน 72 ชั่วโมง แต่กรณีแผ่นดินไหวเป็นที่รับทราบโดยทั่ว สามารถแจ้งหลังจากนี้ได้ แต่ขอให้เร็วที่สุดเพื่อความรวดเร็วในการเคลมประกันภัย
Answer: The standard claim submission period is within 72 hours. However, as the earthquake is a widely recognized event, late submissions may still be considered. Residents are encouraged to file claims as soon as possible for faster processing.
แยกเคลมต่างหากได้หรือไม่
Can insurance claims be processed separately for each unit?
คำตอบ ประกันภัยอาคารชุด เป็นการเคลมและพิจารณารวมเหตุ ฉะนั้นทุกๆ ห้องชุด จะต้องมีความพร้อมในการแจ้งเหตุ ส่งรูป ให้ตัวแทนประกันเข้าสำรวจ และเสนอราคา การซ่อมแซมความเสียหาย ให้ครบถ้วนทุกห้องชุด ประกันถึงจะพิจารณาค่าสินไหม ได้ จึงไม่สามารถแยกเคลมได้ ( 1 อาคาร 1 เลขที่เคลม)
Answer: No, all claims for a single building must be submitted together under one claim number. Each unit must be included in the collective assessment process, with inspections, damage reports, and repair cost estimates submitted for the entire building before the insurance company can evaluate compensation.
Tel : 02-0810000
Website: https://primo.co.th/
Line : https://lin.ee/Jt3nhkF